วันอาทิตย์ที่ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 15


บันทึกอนุทิน


วิชา  การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  ตฤณ  แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี  27  กันยายน  2556
ครั้งที่ 15  เวลาเรียน  08.30 - 12.20 น.

เวลาเข้าสอน   08.30 น.  เวลาเข้าเรียน  08.30 น.  เวลาเลิกเรียน  12.20 น.




                   วันนี้เรียนเป็นคาบสุดท้ายแล้ว   อาจารย์แจกกระดาษให้คนละแผ่น ให้ทำมายต์แม็บปิ้งเรื่อง  
          สรุปความรู้ที่ได้รับจากวิชาการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย





มายต์แม็บปิ้งของดิฉันค่ะ










ความรู้ที่ได้รับจากวิชาการจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

                 ได้เรียนรู้  ความหมายของเด็ก    ความหมายของภาษา  ความสำสัญของภาษา   ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ เพียเจต์    จิตวิทยาการเรียนรู้     เป็นต้น    ทุกอย่างเด็กสามารถเรียนรู้ภาษาได้หมด 

            สุดท้ายนี้ขอขอบคุณอาจารย์ที่ได้ให้ความรู้แก่ดิฉัน    ดิฉันชอบการเรียนการสอนของอาจารย์ค่ะ 
เพราะเรียนแล้วเข้าใจง่าย   สามารถปฏิบัติได้   งานที่ได้รับไม่ยากจนเกินไป     อาจารย์เป็นกันเองกับนักศึกษา    และสิ่งที่เรียนมากับอาจารย์สามารถนำไปใช้ได้จริงและมีประโยชน์อย่างมากสำหรับเด็ก


                        ท้ายชั่วโมงอาจารย์ขอได้มอบของรางวัลสำหรับคนที่มีตราปั้มมากที่สุด   
                                                          ขอแสดงความยินดีด้วยค่ะ






วันอาทิตย์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 14

บันทึกอนุทิน


วิชา  การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  ตฤณ  แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี  20 กันยายน  2556
ครั้งที่ 14  เวลาเรียน  08.30 - 12.20 น.

เวลาเข้าสอน   08.30 น.  เวลาเข้าเรียน  08.30 น.  เวลาเลิกเรียน  12.20 น.





วันนี้ดิฉันไม่ได้ไปเรียน    เนื่องจากไม่สบายท้องเสียค่ะ 









วันพุธที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 13

บันทึกอนุทิน


วิชา  การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  ตฤณ  แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี  13 กันยายน  2556
ครั้งที่ 13  เวลาเรียน  08.30 - 12.20 น.

เวลาเข้าสอน   08.30 น.  เวลาเข้าเรียน  08.30 น.  เวลาเลิกเรียน  12.20 น.



มุม สำหรับเด็กปฐมวัย

                 วันนี้มีกิจกรรมการออกแบบมุมต่างๆ  โดยแบ่งเป็นกลุ่มๆ และออกแบบมุมอะไรก็ได้   

กลุ่มของดิฉันได้ออกแบบมุมสัญญาณจราจร ส่งเสริมประสบการณ์ทางภาษาของเด็ก คือ การบอกภาษาผ่านสัณลักษณ์จากป้ายจราจรในชีวิตประจำวัน





ช่วยกันออกแบบและระบายสี





      ผลงานค่ะ




ออกไปนำเสนอ





          การออกแบบมุมของกลุ่มเพื่อนๆ  มีมุมดังต่อไปนี้  
คือ  มุมสวนดอกไม้   มุมบทบาทสมมติ    มุมศิลปะ    มุมสัตว์       มุมอาเซียน  




มุมดอกไม้

เด็กได้เรียนรู้ภาษาจากดอกไม้ เช่น ดอกมะลิเป็นสัญลักษณ์ของวันแม่
ดอกเข็มเป็นสัญลักษณ์ในวันครู
เป็นต้น





มุมบทบาทสมมติ 
 เด็กได้ภาษาจากการเล่น  จินตนาการการ   การแลกเปลี่ยนบทบาทของเด็ก 
เช่น  ถ้าเป็นที่บ้านเล่นพ่อกับแม่   ถ้าเป็นที่โรงเรียนเล่นคุณครูนักเรียน   ถ้าเป็นที่โรงพยาบาลเล่นคุณหมอกับผู้ป่วย 



มุมศิลปะ
 เด็กได้ภาษาจากกระบวนการคิด   จินตนาการ   การมีปฎิสัมพันธ์กับเพื่อนๆ  
มุมนี้ครูผู้สอนไม่ควรตัดสินผลงานของเด็กที่ภาพว่า สวยหรือไม่สวย   
ควรดูที่กระบวนการคิดของเด็กมากกว่า



มุมสัตว์
เด็กอาจได้ภาษาจากเสียงของสัตว์  ว่าสัตว์แต่ล่ะตัวมีเสียงร้องอย่างไร   




มุมอาเซียน
เด็กได้เรียนรู้ภาษาของแต่ละประเทศอาเซียน  
เช่น คำทักทาย  ประเทศไทย คือ  สวัสดีครับ/ค่ะ   เป็นต้น





ครั้งที่ 12


บันทึกอนุทิน

วิชา  การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  ตฤณ  แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี   6  กันยายน  2556
ครั้งที่ 12  เวลาเรียน  08.30 - 12.20 น.

เวลาเข้าสอน   08.30 น.  เวลาเข้าเรียน  08.30 น.  เวลาเลิกเรียน  12.20 น.




วันนี้เรียนเรื่อง.......

การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อส่งเสริมประสบการณ์ทางภาษา




  -สร้างสภาพแวดล้อมให้เด็กคุ้นเคยกันการใช้ภาษาอย่างมีความหมายและเป็นองค์ประกอบ

                   
  -เด็กได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะทางภาษา โดยไม่เน้นเนื้อหาทางภาษา

                                                                         
  หลักการจัดสภาพแวดล้อม

                 
 -สอดคล้องกับการเรียนรู้ของเด็ก ส่งเสริมให้เด็กสำรวจปฏิบัติจริง เป็นผู้กระทำด้วยตนเอง                   เปิดโอกาสให้เด็กเป็นอิสระ ได้สังเกตและตั้งสมมุติฐาน
                 
-สิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการมีปฎิสัมพันธ์ระหว่งเด็กกับบุคคลรอบข้าง เด็กควรได้สื่อสารทั้งสอง               ทาง คือ ผู้รับกับผู้ฟัง
               
 -สิ่งแวดล้อมที่เน้นความหมายมากกว่ารูปแบบ  ควรยอมรับการสื่อสารของเด็กในรูปแบบต่างๆ              โดยคำนึงถึงความหมายที่เด็กต้องการสื่อมากกว่าความถูกต้องทางไวยากรณ์
              
 -สิ่งแวดล้อมประกอบด้วยความหลากหลายทั้งด้านวาจา แลไม่ใช้วาจา เด็กควรได้รับการมี                   ประสบการณ์และ ปฎิสัมพันธ์หลายๆรูปแบบ
                       
 มุมประสบการณ์ที่สนันสนุนการเรียนรู้และสาระทักษะทางภาษา
                                                  
-มุมหนังสือ        -มุมบทบาทสมมติ


                                                  
 -มุมศิลปะ           -มุมดนตรี
                                                  
 -มุมบล็อก           -มุมวิทยาศาสตร์
                                                    
-อื่นๆ
                   
 ลักษณะของการจัดมุมในชั้นเรียนเพื่อส่งเสริมทักษะทางภาษา
              
-มีพื้นที่ให้เด็กสามารถทำกิจกรรม
             
 -เด็กรู้สึกผ่อนคลาย เมื่ออยู่ในมุม
             
 -บริเวณใกล้ๆมีอุปกรณ์เครื่องเขียน  เช่น ดินสอ สี กระดาษ  กรรไกร    กาว
              
-เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผน  ออกแบบ

มุมหนังสือ ควรมี ชั้นวางหนังสือประเภทต่างๆ ที่เหมาะสมกับวัย  มีบรรยากาศ สงบ และอบอุ่น  มีพื้นที่ในการอ่านลำพัง  และเป็นกลุ่ม  มีอุปกรณ์สำหรับการเขียน

มุมบทบาทสมมติ ควรมี สื่ออุปกรณ์ที่สามารถให้เด็กเข้าไปเล่นได้  มีพื้นที่เพียงพอ

มุมศิลปะ ควรจัดอุปกรณ์ที่หลากหลาย เช่น สีเมจิก  ดินสอ  ยางลบ กรรไกร   กาว  สำหรับงานตัดและติดแปะ  

มุมดนตรี ควรมีเครื่องดนตรีทั้งที่เป็นของเล่นและของจริง เช่น กลอง ฉิ่ง ระนาด ขลุ่ย กรับ  เครื่องเคาะจังหวะ

มุมวิทยาศาสตร์ ควรมีอุปกรณ์ในการ ทดลอง ศึกษาเรื่องต่างๆ ของสิ่งแวดล้อม  ธรรมชาติ และอื่นๆ เพื่อให้เด็กได้ศึกษาด้วยตนเอง  ทดลองด้วยตนเอง





ความรู้และสิ่งที่ได้รับจากการทำกิจกรรมในวันนี้


สรุป   การจัดสภาพแวดล้อมของเด็กนั้นคุณครูเป็นผู้จัดให้แก่เด็ก  ฉะนั้นคุณครูอนุบาลต้องลายมือสวยงามและอ่านออกเขียนถูกต้อง  อาจารย์เบียร์เลยให้นักศึกษาทุกคนฝึกคัดลายมือ ก - ฮ  เพื่อเป็นการฝึกตั้งแต่ตอนนี้เวลาไปฝึกสอนจะได้มีผลงานที่สวยงาม



ตั้งใจคัดมากผลงานตามภาพ ^-^







ครั้งที่ 11


บันทึกอนุทิน


วิชา  การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  ตฤณ  แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี  30  สิงหาคม  2556
ครั้งที่ 11  เวลาเรียน  08.30 - 12.20 น.

เวลาเข้าสอน   08.30 น.  เวลาเข้าเรียน  08.30 น.  เวลาเลิกเรียน  12.20 น.


            อาจารย์ให้จับกลุ่มละ  5 คน แล้วคิดทำสื่อสำหรับเด็กปฐมวัยโดยอาจารย์แจกกระดาษและสี   โดยทำสื่อในกระดาษที่อาจารย์แจกเป็นสื่อ   การวาดรูป  เป็นตัวบ่งชี้ถึงการเล่น  วิธีการเล่น   การสังเกต และประโยชน์หรือคุณสมบัติที่เด็กจะได้รับในการเล่นสื่อแต่ละแบบแต่ละชนิด    พร้อมออกไปนำเสนอว่าวฺิธีการเล่นอย่างไร  ช่วยพัมนาทางด้านภาษาสำหรับเด็กได้อย่างไร



 กลุ่มของดิฉันทำเป็นวงล้ออาหารสัตว์
เด็กได้ภาษาจากสัตว์และอาหารของสัตว์และการจับคู่ว่าสัตว์แต่ละตัวกินอาหารอะไร  เช่น แพนด้ากินไผ่   กระต่ายกินแครอท  เป็นต้น



ช่วยกันทำงาน










สมาชิกในกลุ่ม




ผลงานกลุ่มของดิฉันค่ะ


วันเสาร์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2556

ครั้งที่ 10


บันทึกอนุทิน


วิชา  การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  ตฤณ  แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี  16  สิงหาคม  2556
ครั้งที่ 9  เวลาเรียน  08.30 - 12.20 น.

เวลาเข้าสอน   08.30 น.  เวลาเข้าเรียน  08.30 น.  เวลาเลิกเรียน  12.20 น.


กิจกรรมการเรียนการสอน





วันนี้อาจารย์สอนเรื่องสื่่อการเรียนรู้ทางภาษา


จากนั้นอาจารย์ก็ให้ประดิษฐ์สื่อจากกระดาษ  A4    คนละ 1 ชิ้น

  







ผลงานของดิฉัน


ความรู้และสิ่งที่ได้รับจากการทำกิจกรรมในวันนี้



-ได้เรียนรู้การประดิษฐ์สื่่อสำหรับเด็กแบบง่าย  ใช้เวลาน้อยและประหยัดค่าใช้จ่าย



-การประดิษฐ์สื่อเช่นนี้ยังสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาต่อไป







ครั้งที่ 9


บันทึกอนุทิน


วิชา  การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน  ตฤณ  แจ่มถิน
วัน/เดือน/ปี  16  สิงหาคม  2556
ครั้งที่ 9  เวลาเรียน  08.30 - 12.20 น.

เวลาเข้าสอน   08.30 น.  เวลาเข้าเรียน  08.30 น.  เวลาเลิกเรียน  12.20 น.


กิจกรรมการเรียนการสอน



อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม  4  กลุ่ม  และให้เลือกว่าแต่ละกลุ่มจะทำอะไร   โดยกำหนดให้เลือกดังนี้ 
1.ทำปากสัตว์    2.จับคู่อาเซียน  3.ชักธงชาติอาเซียน  4.หุ่นนิ้วอาเซียน 



กลุ่มของดิฉันเลือก  เกมจับคู่คำทักทายอาเซียน

                                              ไทย=สวัสดี                         กัมพูชา=ซัวสเด
                                              ปิลิปปินส์=กูมุสตา                 พม่า=มิงกาลาบา
                                              สิงโปร์=หนีห่าว                     เวียดนาม=วินจ่าว
                                              อินโดนีเซีย=ซาลามัตเซียง      ลาว=สะบายดี
                                              มาเลเซีย=ซาลามัต  ลาตัง       บรูไน=ซาลามัต  ดาตัง


ภาพและผลงานประกอบการทำกิจกรรมของแต่ละกลุ่ม


กลุ่มการจับคู่คำทักทายประเทศอาเซียน




 
แบ่งหน้าที่กันทำงาน




ช่วยเพื่อนระบายสีธงชาติ



 
ผลงานของกลุ่มดิฉัน




 กลุ่มทำปากสัตว์เป็นคำทักทายประเทศอาเซียน





ระบายสีงานอย่างตั้งใจมากเลยค่ะกลุ่มนี้




ผลงานของเพื่อน

 

 

กลุ่มหุ่นนิ้วประเทสอาเซียน





 ช่วยกันวาดช่วยกันตัด
 


ผลงาน



กลุ่มชักธงชาติประเทศอาเซียน





แบ่งหน้าที่กันทำงาน
 

  
ผลงาน
(กลุ่มนี้จะใช้เวลานานหน่อย)


ความรู้และสิ่งที่ได้จากการทำกิจกรรมนี้ 


-ได้เรียนรู้การทำปากสัตว์


-ได้เรียนรู้การทำรูปภาพธงชาติด้วยการชักธงขึ้นลงสลับกัน


-ได้มีความสามัคคีจากการทำงานเป็นทีม


-งานทุกชิ้นที่ทำในวันนี้ได้นำไปเป็นตัวอย่างในการเรียนรู้ของเด็กต่อไป